1. ส่วนประกอบของระบบการสื่อสารข้อมูล
- ข่าวสาร (Message)
- ผู้ส่ง (Sender/Source)
- ผุ้รับ (Reciever/Destination)
- สื่อกลาง (Transmission Medium)
- โปรโตคอล (Protocol) ข้อตกลงระหว่างผู้ส่งกับผู้รับให้สื่อสารกันได้
2. คุณสมบัติพื้นฐาน 3 ประการของการสื่อสารข้อมูล
- การส่งมอบ (Delivery) ส่งไปยังปลายทางที่ถูกต้อง
- ความถูกต้อง (Accuracy) ส่งได้เที่ยงตรง ควรมีการแจ้งเตือนกรณีการส่งล้มเหลว
- ระยะเวลา (Timeliness) ส่งถึงภายในเวลาเหมาะสม ทันต่อการใช้
3. การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication)
- การสื่อสารโทรคมนาคม หมายถึง การสื่อสารระยะไกล เพื่อแลกเปลี่ยนสารสนเทศ
- เกี่ยวข้องกับการใช้ Electronics Transmitters เช่น โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์
- การสื่อสารข้อมูลเป็นส่วนย่อยของการสื่อสารโทรคมนาคม
- เครือข่าย อาจหมายถึงเครือข่ายที่เชื่อมในโยงพื้นที่เดียวกันหรือระยะไกล
4. ตัวอย่างสื่อและอุปกรณ์ทางด้านสือสาร
- โทรเลข (Telegraphy) แปลง ตัวอักษร/ตัวเลข -> รหัส -> สัญญาณไฟฟ้า แล้วส่งผ่านสื่อกลาง เช่น สายทองแดง ปลายทางก็จะถอดรหัส แต่ในประเทศไทยได้ยกเลิกการใช้งานเมื่อ 1 พ.ค. 2551
- โทรพิมพ์ (Telex) เป็นโทรเลขอีกแบบ ที่ผู้ใช้งานติดต่อโต้ตอบกันได้ โดยเครื่องโทรพิมพ์คล้ายเครื่องพิมพ์ดีดเป็นทั้งเครื่องรับและส่ง โดยการพิมพ์ข้อความบนกระดาษ
- โทรสาร (Facsimile, Fax) สแกนเอกสารแล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งตามสายโทรศัพท์
- โทรศัพท์ (Telephone)
- โทรทัศน์ (Television)
- วิทยุกระจายเสียง (Radio)
- ไมโครเวฟ (Microwave)
- ดาวเทียม (Satellite)
5. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Networks)
- เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง การนำกลุ่มคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ มาเชื่อมต่อเป็นเครือข่าย
- โดยใช้สื่อกลาง เช่น เคเบิล คลื่นวิทยุ เป็นเส้นทางลำเลียงข้อมูล
- ระบบปฏิบัติการเครือข่าย เป็นซอร์ฟแวร์ที่นำมาเชื่อมโยงอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์เข้ปราด้วยกัน ทำให้เครือข่ายเชื่อมโยงกันเป็นหนึ่งเดียวกันได้ ทำหน้าทีบริหารทรัพยากรเครือข่ายและให้ผู้ใช้สารมารถใช้ทรัพยากรร่วมกันบนเครือข่ายได้สะดวก
6. ประโยชน์ของเครือข่าย
- การใช้ทรัพยากรร่วมกัน
- ช่วยลดต้นทุน
- เพื่อความสะดวกในการสื่อสาร
- ความน่าเชือถือและความปลอดภัยของระบบ
7. เกณฑ์วัดประสิทธิภาพของเครือข่าย (Network Criteria)
- Performance
- จำนวนผู้ใช้
- ชนิดสื่อกลาง
- อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
- ซอร์ฟแวร์
- Reliability
- ความถี่ของการล้มเหลว
- ระยะเวลาในการกู้คืน
- ความคงทนต่อความผิดพลาด
- Security
- สิทธิ์การเข้าถึงข้อมูล
- ไวรัสคอมพิวเตอร์
8. มาตรฐานเครือข่าย (Network Standard)
มาตรฐานเครือข่าย คือ ข้อกำหนดเพื่อให้เกิดความแน่นอนของระบบการสื่อสารระหว่างฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์9. ประเภทของมาตรฐาน
- มาตรฐานโดยพฤตินัย (By Fact) สร้างขึ้นเอง โดยผู้ผลิตกับผู้ใช้ หรือกลุ่มบุคคลที่สนใจเรื่องเดียวกัน
- มาตรฐานโดยนิตินัย (By Law) กำหนดเป็นทางการ กฎหมายรับรอง
10. กระบวนการกำหนดมาตรฐาน
- ขั้นกำหนดรรายละเอียดของปัญหา
- ขั้นกำหนดทางเลือก
- ขั้นการยอมรับ
11. องค์กรมาตรฐาน
- มาตรฐานทั้งตั้งขึ้นโดยกลุ่มคณะกรรมการ (Standards Creation Committees)
- ISO สนับสนุนการกำหนดมาตรฐานระหว่างชาติ เช่น OSI Model
- ITU-T กำหนดมาตรฐานด้านการสื่อสารโทรคมนาคมระดับสากล ให้คำปรึกษา เช่น โทรศัพท์ โทรเลข
- ANSI ประสานงานระหว่างองค์กรกำหนดมาตรฐานอื่นๆ วิเคราะห์หาข้อสรุป เช่น ANSI-COBOL
- IEEE กำหนดมาตรฐานการสื่อสาร วิจัยผลิตภัณฑ์วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ชั้น Phisical และ Data Link เช่น มาตรฐาน LAN โครงการ 802.11
- EIA กำหนดมาตรฐานวงจรอิเล็กทรอนิกส์ พวกปลั๊กเชื่อม อินเตอร์เฟส เช่น RS-323 สื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับโมเด็มแบบอนุกรม
- Forums กลุ่มคนที่สนใจเรื่องเดียวกัน เช่น Frame Relay Forum, ATM Forum
- ตัวแทนที่ได้รับมอบหมายโดยรัฐ (Governmenct Regulatory Agencies) เช่น FCC ของอเมริกาที่กำหนดการใช้คลื่นวิทยุผ่านสายและไร้สาย
12. ประเภทของเครือข่าย
- LAN ระดับท้องถิ่น
- MAN ระดับเมือง เพื่อการสื่อสารควาเร็วสูง เช่น สาขาต่างๆในเมืองเดียวกัน เคเบิลทีวี
- WAN ระดับประเทศ
- Switched-WAN เชื่อมระหว่างเครือข่าย ปกติมักหมายถึงเร้าเตอร์ ที่เชื่อมโยงไปเครือข่ายอื่นได้ เช่น ATM, Wireless-WAN
- Point-to-Pint WAN ใช้สายโทรศัพท์เพื่อเข้าถึงอินเตอร์เน็ตจากบ้านไปยัง ISP
13. การเชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Computer Networks-Basis Configuration)
- Terminal to Mainframe
- Microcomputer to Mainframe
- Microcomputer to LAN
- Microcomputer to Internet
- LAN to LAN
- LAN to MAN
- LAN to Internet
- PAN to Workstation
- Sattelite and Microwave
- Wireless Telephone
Sign up here with your email
ConversionConversion EmoticonEmoticon